วันพุธที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

 วัน พุธที่ 22 มีนาคม 2560 


******เนื่องจากวันนี้อาจารย์ติดภาระกิจจึงมีงานมอบหมายให้นักศึกษาทำ
          
อาจารย์ได้ให้ทำสื่อปฎิทินโดยทำเป็นกลุ่มกลุ่มละ1ชิ้นงาน  แต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผน ช่วยกันทำเป็นอย่างดี










วันพุธที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 15 มีนาคม 2560 


เนื้อหาที่เรียน/กิจกรรม

                  อาจารย์แจกกระดาษให้แต่ละคนวาดรูทรงเลขาคณิตที่ตนเองชอบ จากนั้นมาหยิบไม้ และดินน้ำมันไปปนะกอบเป็นรูปที่ตนเองวาดไว้ ต่อจากนั้นก็นำรูปทรงของตนเองไปประกอบกับเพื่อนอีก1คน แล้วนำมาวางหน้าชั้นเรียนเพื่อทำการวิเคราะห์ นำมาวางเรียงกัน มีการนับ การแทนค่าด้วยตัวเลข แยกหมวดหมู่ดวยเกณฑ์สี่เหลี่ยม ทำการวิเคราะห์ว่าสามเหลี่ยม สีเหลี่ยม มีด้านแต่ละด้านเป็นอย่างไร มีตรงไหนที่เหมือนหรือต่างกัน สำรวจความชอบของเด็กๆว่าชอบแบบใด
                  อาจารย์ได้ให้คำแนะนำmy map ของแต่ละกลุ่มที่ทำมาว่าควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไรตรงไหนบ้าง และให้แนวทางในแต่ละเรื่องที่ทำมาว่าควรต่อยอดอย่างไรได้บ้างควรเพิ่มเติมตรงไหนอีกบ้าง และอาจารย์ได้อธิบายแผนการจัดประสบการณ์ว่าควรเขียนอย่าไร มีกาารนำตัวอย่างแผนมาให้ดู












การประยุกต์ใช้
                  กิจกรรมที่นำไม้และดิน้ำมันมาต่อเป็นรูปเรขาคณิตเราสามารถนำไปจัดกิจกรรมให้เด็กได้ด้วยอาจเป็นการต่อยอดโดยการให้เด็ตัดกระดาษมาติดแต่ละด้านเพื่อที่เด็กจะได้เรียนรู้ว่ามีด้านกี่ด้านมีพื้นที่ขนาดไหน
              
ประเมิน
        อาจารย์: อาจารย์ได้ให้คำแนะนำในการทำ my map ว่าต้องปรับปรุงอย่างไร อันไหนบ้าง 
        ตนเอง: ชอบในกิจกรรมที่นำไม้และดิน้ำมันมาต่อเป็นรูปเรขาคณิต
        สิ่งแวดล้อม:หลายๆคนตั้งใจทำกิจกรรมต่างๆเป็นอย่างดี

วันพุธที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วัน พุธที่ 8 มีนาคม 2560 



เนื้อหาที่เรียน/กิจกรรม

                     อาจารย์ได้นำลูกอมในขวดโหลมาเป็นสื่อการสอน โดยให้นักศึกษาคาดคะเนว่ามีลูกอมในขวดโหลเท่าไหร่ และมีการเอาลูกอมออกมานับเพื่อให้ทราบถึงจำนวนลูกอมที่แท้จริง จากนั้นอาจารย์ก็หยิบลูกอมใส่เพิ่มลงไป และมีการเริ่มนับใหม่อีกครั้งว่ามีลูกอมเท่าไหร่ ทำให้ได้เรียนรู้ จำนวนนับ การแทนค่าด้วยตัวเลข ระบบเลขฐานสิบ ความสัมพันธ์ของขนาดและปริมาณ การคาดคะเน มิติสัมพันธ์ จากนั้นอาจารย์ได้มีการแยกลูกอมออกจากกันโดยใช้เกณฑ์เดียว และเปรียบเทียบให้เห็นว่าลูกอมชนิดใดมากกว่ากัน ซึ่งถ้าดูจากตาเปล่า เด็กจะตอบตามที่ตาเห็น หรือขั้นอนุรักษ์
                     อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 จำนวน 3 กลุ่ม และกลุ่มละ 3 จำนวน 2 กลุ่ม จากนั้นอาจารย์ก็แจกอุปกรณ์เพื่อให้นำไปทำ my map โดยให้เลือกหัวข้อเรื่องที่เด็กปฐมวัยต้องเรียน ได้แก่ ตัวฉัน ธรรมชาติรอบตัว สิ่งแวดล้อม บุคคลและสถานที่ โดยแตกหัวข้อออกไปว่าสิ่งที่เราเลือกสอน มีลักษณะ ชนิดใดบ้าง ให้ประโยชน์ โทษ อย่างไร โดยสัปดาห์นี้ครูจะตรวจความถูกต้องของเนื้อหาและให้คำแนะนำ เพื่อนำไปปรับปรุงแล้วมาสอนจริงในสัปดาห์หน้า โดยให้ในกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมาสอน






การประยุกต์ใช้
                  สื่อลูกอมในขวดโหล เราสามารถนำเอามาสอนเด็กปฐมวัยได้ อาจดัดแปลงจากลูกออมเป็นอย่างอื่นได้ อาจจะเป็นวัสดุจากธรรมชาติ เช่น ก้อนหิน เปลือกหอย
                 ในการทำ my map เราได้ทักษะในการแตกหัวข้อย่อย เราสามารถนำไปใช้กับรายวิชาอื่นๆได้อีกด้วย


ประเมิน
     อาจารย์: อาจารย์ได้ให้คำแนะนำตลอดการทำ my map ว่าต้องปรับปรุงอย่าไร อันไหนบ้าง และอาจารย์ได้มีการเตรียมอุปกรณ์มาให้
     ตนเอง:  วันนี้ชอบที่ได้ทำงานกลุ่มร่วมกับเพื่อนๆ ทำให้ได้แสดงความคิดเห็นร่วมกัน
     สิ่งแวดล้อม: หลายๆกลุ่มก็ตั้งใจทำงานกลุ่มของกลุ่มตนเองเป็นอย่างดี มีการมาขอคำแนะนำจากอาจารย์บ้าง

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วัน พุธที่ 8 มีนาคม 2560 



เนื้อหาที่เรียน/กิจกรรม
วันพุธ ที่ 21  กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

ความรู้ที่ได้รับ



            อาจารย์สอนการคาดคะเนลูกอมในขวดโหลว่ามีทั้งหมดกี่เม็ด ทำให้เด็กได้ฝึกการใช้ความคิดวิเคราะห์ คาดคะเนข้อมูลและความน่าจะเป็น ซึ่งการเรียนสอดคล้องกับสาระที่4 มาตรฐาน ค.ป. 4.1
การนับจำนวนลูกอมและใช้ตัวเอขเป็นตัวกำกับ สอดคล้องกับสาระที่ 1 มาตรฐาน ค.ป. 1.1




        และในวันเดียวกันอาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ของกลุ่มตัวเอง ซึ่งแต่ละกลุ่มหัวข้อจะไม่ซ้ำกัน โดยแบ่งการสอนออกเป็น5วัน โดยกำหนดหัวเรื่องให้สอดคล้องกับเด็ก และในอาทิตย์หน้าต้องออกมาแบ่งกันสอนคนละหัวข้อ ให้ครบ5วัน

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

การที่เรานำสิ่งที่มีอยู่รอบๆตัวมาประยุกต์ใช้ในการสอนคณิตศาสตร์ และเราต้องยึดและคำนึงถึงตัวเด็กเป็นสำคัญ ว่าสิ่งที่เราสอนเขาจะได้พัฒนาการอะไรไปจากเรา และรวมไปถึงให้สอดคล้องกับมาตรฐานสาระการเรียนรู้อีกด้วย